โรคไต เป็นแล้วทรมาน
แก้ปัญหา "โรคไต"
✓ ไม่ต้องฟอกไต!
✓ ไม่ต้องเป็นภาระลูกหลาน!
✓ ไม่ต้องทรมานจากโรคร้าย!
✓ ไม่ต้องขายบ้านขายรถเอาเงินมารักษาตัว!
"...หากวันนี้คุณหรือคนในครอบครัว กำลังประสบปัญหา ไม่ว่าจะตัวคุณหรือคนที่คุณรักเกิดเป็นโรคไตวายเรื้อรัง หรือเบาหวาน ความดัน แล้วจะต้องฟอกไต หรือกำลังจะฟอก อยากให้ทุกคนได้อ่านสิ่งที่กำลังจะเล่าให้ทุกคนฟัง จากเรื่องจริง..."
สำหรับใครที่กำลังประสบปัญหาโรคไต หรือใกล้ระยะฟอกไต นอกจากคุณจะต้องทรมานกับผลกระทบจากโรคแล้ว คุณยังต้องพบเจอกับค่าใช้จ่ายในการ ฟอกไต อยากมหาศาล หากคุณมีเงินก็ดีไป แต่หากไม่มีละ โดยปกติแล้วการฟอกไต หากฟอกไปแล้ว 7 ปี ต้องทำการเปลี่ยนไต และเราจะหาไตจากไหนมาละ!!!
คุณมีอาการแบบนี้หรือไม่
✓ ฉี่บ่อยโดยเฉพาะตอนกลางคืน
✓ ฉี่มีฟอง หรือมีกลิ่นฉุน
✓ ฉี่มีสีเข้มเหมือนสีน้ำล้างเนื้อ หรือบางครั้งสังเกตุเห็นชัดเจนว่ามีเลือดปน
✓ ฉี่มีสีขุ่น
✓ คันตามผิวหนัง
✓ อ่อนเพลีย
✓ เบื่ออาหาร
✓ ปวดบั้นเอว
✓ มีอาการบวมตามตัว แขนบวม ขาบวม
✓ มีอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่ออก
✓ ปวดเอว ปวดบั้นเอว
ปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้คุณเป็นโรคไต
- ความดัน
- เบาหวาน (เสี่ยงเป็นโรคไตถึง 90%)
- ผู้ที่ชอบทานอาหารรสจัด ทั้งเค็มจัด เผ็ดจัด หวานจัด มันจัด
- กรรมพันธุ์
- อายุ
- ความอ้วน
✓ ไม่ต้องฟอกไต!
✓ ไม่ต้องเป็นภาระลูกหลาน!
✓ ไม่ต้องทรมานจากโรคร้าย!
✓ ไม่ต้องขายบ้านขายรถเอาเงินมารักษาตัว!
"...หากวันนี้คุณหรือคนในครอบครัว กำลังประสบปัญหา ไม่ว่าจะตัวคุณหรือคนที่คุณรักเกิดเป็นโรคไตวายเรื้อรัง หรือเบาหวาน ความดัน แล้วจะต้องฟอกไต หรือกำลังจะฟอก อยากให้ทุกคนได้อ่านสิ่งที่กำลังจะเล่าให้ทุกคนฟัง จากเรื่องจริง..."
สำหรับใครที่กำลังประสบปัญหาโรคไต หรือใกล้ระยะฟอกไต นอกจากคุณจะต้องทรมานกับผลกระทบจากโรคแล้ว คุณยังต้องพบเจอกับค่าใช้จ่ายในการ ฟอกไต อยากมหาศาล หากคุณมีเงินก็ดีไป แต่หากไม่มีละ โดยปกติแล้วการฟอกไต หากฟอกไปแล้ว 7 ปี ต้องทำการเปลี่ยนไต และเราจะหาไตจากไหนมาละ!!!
คุณมีอาการแบบนี้หรือไม่
✓ ฉี่บ่อยโดยเฉพาะตอนกลางคืน
✓ ฉี่มีฟอง หรือมีกลิ่นฉุน
✓ ฉี่มีสีเข้มเหมือนสีน้ำล้างเนื้อ หรือบางครั้งสังเกตุเห็นชัดเจนว่ามีเลือดปน
✓ ฉี่มีสีขุ่น
✓ คันตามผิวหนัง
✓ อ่อนเพลีย
✓ เบื่ออาหาร
✓ ปวดบั้นเอว
✓ มีอาการบวมตามตัว แขนบวม ขาบวม
✓ มีอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่ออก
✓ ปวดเอว ปวดบั้นเอว
ปัจจัยเสี่ยงที่อาจทำให้คุณเป็นโรคไต
- ความดัน
- เบาหวาน (เสี่ยงเป็นโรคไตถึง 90%)
- ผู้ที่ชอบทานอาหารรสจัด ทั้งเค็มจัด เผ็ดจัด หวานจัด มันจัด
- กรรมพันธุ์
- อายุ
- ความอ้วน
ก่อนที่เราจะไปรับรู้เรื่องค่าใช้จ่ายในการฟอกไตที่แพงลิบลิ่วนั้น หลายท่านคงจะเคยได้ยินคำว่า “ไตวาย ตายไว” กันมาบ้างแล้ว ที่ฟังดูน่ากลัวกันนักก็เพราะว่าภาวะไตวายนั้น มีผลต่ออัตราการเพิ่มการเสียชีวิตของผู้ป่วยทุกราย เนื่องจาก “ไต” (Kidney) นั้น เป็นอวัยวะภายในที่สำคัญที่ทำหน้าที่ในการกรองของเสียในร่างกาย ถ้าไตสูญเสียการทำงาน หรือ ที่เราเรียก “ไตวาย” (Kidney Failure) นั้น จะทำให้คนเราไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ เนื่องจาก จะเกิดภาวะของเสียจากเลือดคั่งในร่างกาย ทำให้ระบบการทำงานของอวัยวะภายในต่างๆ ล้มเหลวตามมานั่นเอง
อาการของโรคไตวาย
อาการไตวายเฉียบพลัน อาการที่เด่นชัด คือ มีปริมาณปัสสาวะต่อวันออกน้อยกว่า 400-450 มิลลิลิตร หรือไม่มีปัสสาวะออกเลย (ไม่มีอาการปวดปัสสาวะ และสวนปัสสาวะก็ไม่มีปัสสาวะออกมามากกว่านี้) ต่อมาไม่นานผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย ง่วงเหงาหาวนอนตลอดเวลา เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน นอกจากนี้ยังอาจมีอาการปวดหลังบริเวณชายโครง หายใจถี่ ทั้งนี้บางรายอาจไม่แสดงอาการใด ๆ เลย หรือในกรณีที่อาการรุนแรงหรือหากปล่อยไว้ไม่รักษาผู้ป่วยอาจมีอาการซึม ชัก หรือหมดสติเข้าสู่ภาวะโคม่าแบบเฉียบพลันได้
อาการไตวายเรื้อรัง อาการจะขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค ในระยะแรกผู้ป่วยอาจไม่มีอาการให้สังเกตได้ชัดเจน และมักพบได้จากการตรวจเลือด (พบระดับยูเรียไนโตรเจนและระดับครีตินีนในเลือดสูง) ในขณะที่มาตรวจเช็กสุขภาพหรือมาพบแพทย์ด้วยโรคอื่น ๆ โดยอาการของไตวายเรื้อรังจะไม่เกิดขึ้นพร้อมกันในคราวเดียว แต่อาการจะค่อย ๆ แสดงออกมาเป็นระยะ ๆ ซึ่งไตวายเรื้อรังจะแบ่งออกเป็น 5 ระยะตามระดับของค่าประเมินอัตราการกรองของไต (Epidermal growth factor receptor : eGFR) ซึ่งเป็นค่าที่ประมาณว่าในแต่ละนาทีไตสามารถกรองของเสียออกจากเลือดได้เท่าไหร่ โดยในคนทั่วไปจะมีค่านี้อยู่ประมาณ 90-100 มิลลิลิตร/นาที โดยระยะของไตวายนั้นมีดังนี้
อาการของโรคไตวาย
อาการไตวายเฉียบพลัน อาการที่เด่นชัด คือ มีปริมาณปัสสาวะต่อวันออกน้อยกว่า 400-450 มิลลิลิตร หรือไม่มีปัสสาวะออกเลย (ไม่มีอาการปวดปัสสาวะ และสวนปัสสาวะก็ไม่มีปัสสาวะออกมามากกว่านี้) ต่อมาไม่นานผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย ง่วงเหงาหาวนอนตลอดเวลา เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน นอกจากนี้ยังอาจมีอาการปวดหลังบริเวณชายโครง หายใจถี่ ทั้งนี้บางรายอาจไม่แสดงอาการใด ๆ เลย หรือในกรณีที่อาการรุนแรงหรือหากปล่อยไว้ไม่รักษาผู้ป่วยอาจมีอาการซึม ชัก หรือหมดสติเข้าสู่ภาวะโคม่าแบบเฉียบพลันได้
อาการไตวายเรื้อรัง อาการจะขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค ในระยะแรกผู้ป่วยอาจไม่มีอาการให้สังเกตได้ชัดเจน และมักพบได้จากการตรวจเลือด (พบระดับยูเรียไนโตรเจนและระดับครีตินีนในเลือดสูง) ในขณะที่มาตรวจเช็กสุขภาพหรือมาพบแพทย์ด้วยโรคอื่น ๆ โดยอาการของไตวายเรื้อรังจะไม่เกิดขึ้นพร้อมกันในคราวเดียว แต่อาการจะค่อย ๆ แสดงออกมาเป็นระยะ ๆ ซึ่งไตวายเรื้อรังจะแบ่งออกเป็น 5 ระยะตามระดับของค่าประเมินอัตราการกรองของไต (Epidermal growth factor receptor : eGFR) ซึ่งเป็นค่าที่ประมาณว่าในแต่ละนาทีไตสามารถกรองของเสียออกจากเลือดได้เท่าไหร่ โดยในคนทั่วไปจะมีค่านี้อยู่ประมาณ 90-100 มิลลิลิตร/นาที โดยระยะของไตวายนั้นมีดังนี้
อย่าปล่อยให้มีน้ำตา ที่เกิดจากการจากลา
เพราะโรคไต
ระยะที่ 1 เป็นระยะที่ยังไม่มีอาการแสดงให้เห็นชัดเจน แต่ทราบได้จากการตรวจทางพยาธิวิทยา เช่น การตรวจเลือด การตรวจค่าประเมินอัตราการกรองของไต (eGFR) ซึ่งในระยะแรกนี้ค่า eGFR จะอยู่ที่ประมาณ 90 มิลลิลิตร/นาที ขึ้นไป แต่อาจพบอาการไตอักเสบหรือภาวะโปรตีนรั่วออกมาปะปนในเลือดหรือในปัสสาวะ
ระยะที่ 2 เป็นระยะที่อัตราการกรองของไตลดลง แต่ยังไม่มีอาการใด ๆ แสดงให้เห็นนอกจากการตรวจทางพยาธิวิทยาดังกล่าว ซึ่งค่า eGFR จะเหลือเพียง 60-89 มิลลิลิตร/นาที
ระยะที่ 3 เป็นระยะที่ยังไม่มีอาการใด ๆ แสดงออกมาให้เห็น นอกจากค่า eGFR ที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยในระยะนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ระยะย่อย คือ ระยะย่อย 3A ซึ่งจะมีค่า eGFR อยู่ที่ 45-59 มิลลิลิตร/นาที และระยะย่อย 3B ซึ่งจะมีค่า eGFR อยู่ที่ 30-44 มิลลิลิตร/นาที
ระยะที่ 4 อาการต่าง ๆ ของผู้ป่วยจะค่อยแสดงในระยะนี้ นอกจากค่า eGFR จะลดลงเหลือเพียง 15-29 มิลลิลิตร/นาทีแล้ว จะสังเกตว่ามีปัสสาวะออกมากและปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลดลง คลื่นไส้ อาเจียน นอนไม่หลับ ขาดสมาธิ ความจำไม่ดี ปวดศีรษะ ตามัว ท้องเสียบ่อย ชาตามปลายมือปลายเท้า ผิวหนังแห้งและมีสีคล้ำ (จากของเสียเป็นสาเหตุทำให้เกิดสารให้สีของผิวหนังเปลี่ยนแปลง) คันตามผิวหนัง (จากของเสียที่คั่งก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง) บางรายอาจมีอาการหอบเหนื่อย สะอึก กล้ามเนื้อเป็นตะคริวบ่อย ใจหวิว ใจสั่น เจ็บหน้าอก มีอาการบวมตามตัว (โดยเฉพาะรอบดวงตา ขา และเท้า) หรือมีเลือดออกตามผิวหนังเป็นจุดแดงจ้ำเขียว หรืออาเจียนเป็นเลือด ถ่ายเป็นเลือด โลหิตจาง หรือรู้สึกไม่สบายเนื้อสบายตัวตลอดเวลา
ระยะที่ 5 เป็นระยะสุดท้ายของภาวะไตวาย ค่า eGFR เหลือไม่ถึง 15 มิลลิลิตร/นาที นอกจากผู้ป่วยจะมีอาการคล้ายกับระยะที่ 4 แล้ว ยังอาจมีภาวะโลหิตจางที่รุนแรงขึ้น และอาจตรวจพบการเสียสมดุลของแคลเซียม ฟอสเฟต หรือสารอื่น ๆ ที่อยู่ในเลือด นำมาสู่ภาวะกระดูกบางและเปราะหักง่าย หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีก็อาจจะเสียชีวิตได้
ระยะที่ 2 เป็นระยะที่อัตราการกรองของไตลดลง แต่ยังไม่มีอาการใด ๆ แสดงให้เห็นนอกจากการตรวจทางพยาธิวิทยาดังกล่าว ซึ่งค่า eGFR จะเหลือเพียง 60-89 มิลลิลิตร/นาที
ระยะที่ 3 เป็นระยะที่ยังไม่มีอาการใด ๆ แสดงออกมาให้เห็น นอกจากค่า eGFR ที่ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยในระยะนี้จะแบ่งออกเป็น 2 ระยะย่อย คือ ระยะย่อย 3A ซึ่งจะมีค่า eGFR อยู่ที่ 45-59 มิลลิลิตร/นาที และระยะย่อย 3B ซึ่งจะมีค่า eGFR อยู่ที่ 30-44 มิลลิลิตร/นาที
ระยะที่ 4 อาการต่าง ๆ ของผู้ป่วยจะค่อยแสดงในระยะนี้ นอกจากค่า eGFR จะลดลงเหลือเพียง 15-29 มิลลิลิตร/นาทีแล้ว จะสังเกตว่ามีปัสสาวะออกมากและปัสสาวะบ่อยตอนกลางคืน ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลดลง คลื่นไส้ อาเจียน นอนไม่หลับ ขาดสมาธิ ความจำไม่ดี ปวดศีรษะ ตามัว ท้องเสียบ่อย ชาตามปลายมือปลายเท้า ผิวหนังแห้งและมีสีคล้ำ (จากของเสียเป็นสาเหตุทำให้เกิดสารให้สีของผิวหนังเปลี่ยนแปลง) คันตามผิวหนัง (จากของเสียที่คั่งก่อให้เกิดการระคายเคืองต่อผิวหนัง) บางรายอาจมีอาการหอบเหนื่อย สะอึก กล้ามเนื้อเป็นตะคริวบ่อย ใจหวิว ใจสั่น เจ็บหน้าอก มีอาการบวมตามตัว (โดยเฉพาะรอบดวงตา ขา และเท้า) หรือมีเลือดออกตามผิวหนังเป็นจุดแดงจ้ำเขียว หรืออาเจียนเป็นเลือด ถ่ายเป็นเลือด โลหิตจาง หรือรู้สึกไม่สบายเนื้อสบายตัวตลอดเวลา
ระยะที่ 5 เป็นระยะสุดท้ายของภาวะไตวาย ค่า eGFR เหลือไม่ถึง 15 มิลลิลิตร/นาที นอกจากผู้ป่วยจะมีอาการคล้ายกับระยะที่ 4 แล้ว ยังอาจมีภาวะโลหิตจางที่รุนแรงขึ้น และอาจตรวจพบการเสียสมดุลของแคลเซียม ฟอสเฟต หรือสารอื่น ๆ ที่อยู่ในเลือด นำมาสู่ภาวะกระดูกบางและเปราะหักง่าย หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีก็อาจจะเสียชีวิตได้
สาเหตุของไตวาย
ไตวายสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่ส่งผลเสียต่อไตโดยตรงหรือส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะอื่น ๆ จนทำให้ไตเกิดการทำงานที่ผิดปกติตามไป โดยสาเหตุของไตวายทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรังที่พบได้บ่อยมีดังนี้
นอกจากนี้โรคไตวายอาจเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคต่าง ๆ เช่นโรคไข้เลือดออก หรือเกิดจากอุบัติเหตุโดยตรงที่บริเวณไต ไม่เพียงเท่านั้น ความเสื่อมของไตตามอายุก็อาจทำให้เกิดภาวะไตวายได้เช่นกัน
ไตวายสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ซึ่งอาจเป็นสาเหตุที่ส่งผลเสียต่อไตโดยตรงหรือส่งผลต่อการทำงานของอวัยวะอื่น ๆ จนทำให้ไตเกิดการทำงานที่ผิดปกติตามไป โดยสาเหตุของไตวายทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรังที่พบได้บ่อยมีดังนี้
- การสูญเสียเลือดหรือน้ำในร่างกายมากเกินไปส่งผลให้ไตเสื่อมประสิทธิภาพในการทำงานลงอย่างเฉียบพลัน
- ความดันโลหิตสูงส่งผลให้ผนังหลอดเลือดที่ไหลเวียนเลือดไปที่ไตผิดปกติ หากมีภาวะความดันโลหิตสูงเป็นระยะเวลานานโดยไม่ได้รับการรักษา อาจเป็นสาเหตุหนึ่งให้ไตเสื่อมได้ในที่สุด
- โรคเบาหวานระดับน้ำตาลในเลือดส่งผลโดยตรงกับไตทำให้ไตเสื่อม ผู้ป่วยที่เป็นเบาหวานส่วนมากจึงมีความเสี่ยงที่จะเป็นไตวายเรื้อรัง
- อาการแพ้อย่างรุนแรงจนทำให้ระบบการทำงานในร่างกายล้มเหลว ส่งผลกระทบต่อการทำงานของไต
- การทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายล้มเหลวอาทิ หัวใจวาย หัวใจล้มเหลว ตับล้มเหลว ที่กระทบต่อระบบไหลเวียนเลือดทั่วร่างกายจนทำให้ไตได้รับเลือดไปไหลเวียนไม่เพียงพอ
- การติดเชื้อการติดเชื้อไวรัส หรือแบคทีเรียบางชนิด เมื่อแพร่กระจายเข้าสู่กระแสเลือด เชื้อโรคเหล่านี้จะถูกพาไปยังไต และทำให้ไตถูกทำลาย
- ผลข้างเคียงจากการใช้ยาอาทิ ยาแอสไพริน (Aspirin) ยาไอบูโพรเฟน (ibuprofen) หรือ ยานาพรอกเซน (Naproxen) หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานานเกินไป หรือซื้อใช้เองโดยไม่อยู่ภายใต้คำแนะนำของแพทย์หรือเภสัชกร อาจนำมาสู่ภาวะไตเสื่อม
- ปัญหาเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะเช่น ลิ่มเลือดอุดตันในทางเดินปัสสาวะ ต่อมลูกหมากโตในเพศชาย นิ่วในไต หรือโรคมะเร็งที่ส่งผลให้เกิดก้อนเนื้อไปขัดขวางระบบทางเดินปัสสาวะจนทำให้ไตขับปัสสาวะออกมาไม่ได้ และเกิดภาวะเสื่อมของไตในที่สุด
- ได้รับสารพิษเมื่อสารพิษเข้าสู่ร่างกาย ร่างกายจะพยายามขับออกมาทางปัสสาวะ ทำให้ไตทำงานหนักขึ้น สารพิษบางชนิดอาจทำลายไตจนทำให้ไตวายได้
นอกจากนี้โรคไตวายอาจเป็นภาวะแทรกซ้อนของโรคต่าง ๆ เช่นโรคไข้เลือดออก หรือเกิดจากอุบัติเหตุโดยตรงที่บริเวณไต ไม่เพียงเท่านั้น ความเสื่อมของไตตามอายุก็อาจทำให้เกิดภาวะไตวายได้เช่นกัน
วิธีการดูค่าไต จากค่า eGFR เพื่อจะได้รู้ว่าเป็น “โรคไตเสื่อม”
ค่า eGFR การตรวจหาอัตราการกรองของไต หรืออัตราการกรองของเสียของไต (Estimated glomerular filtration rate : eGFR หรือเรียกย่อ ๆ ว่า “GFR”) คือ การตรวจหาค่าอัตราการไหลของเลือดผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที โดยเป็นค่าที่ได้จากการคำนวณ Creatinine เพศ อายุ และเชื้อชาติของผู้รับการตรวจแต่ละคน
ปัจจุบันนี้วงการโรคไตทั่วโรครวมทั้งสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย ได้เปลี่ยนมาใช้ค่า GFR ในการบอกสถานะของโรคไตแทนค่า Creatinine แล้ว (ในคนปกตินั้นจะมีค่า GFR อยู่ที่ประมาณ 125 มล./นาที แต่ถ้าตรวจพบว่ามีค่าต่ำกว่า 90 ก็ถือว่าไตเริ่มเสื่อมแล้ว) เพราะค่านี้มีประโยชน์อย่างมากในแง่ที่ช่วยแบ่งระดับความรุนแรงของผู้ที่มีระดับ Creatinine ผิดปกติว่ามีความรุนแรงของโรคไตเรื้อรังอยู่ในระยะใด ใน 5 ระยะ กล่าวคือ
ค่า eGFR การตรวจหาอัตราการกรองของไต หรืออัตราการกรองของเสียของไต (Estimated glomerular filtration rate : eGFR หรือเรียกย่อ ๆ ว่า “GFR”) คือ การตรวจหาค่าอัตราการไหลของเลือดผ่านตัวกรองไตในหนึ่งนาที โดยเป็นค่าที่ได้จากการคำนวณ Creatinine เพศ อายุ และเชื้อชาติของผู้รับการตรวจแต่ละคน
ปัจจุบันนี้วงการโรคไตทั่วโรครวมทั้งสมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย ได้เปลี่ยนมาใช้ค่า GFR ในการบอกสถานะของโรคไตแทนค่า Creatinine แล้ว (ในคนปกตินั้นจะมีค่า GFR อยู่ที่ประมาณ 125 มล./นาที แต่ถ้าตรวจพบว่ามีค่าต่ำกว่า 90 ก็ถือว่าไตเริ่มเสื่อมแล้ว) เพราะค่านี้มีประโยชน์อย่างมากในแง่ที่ช่วยแบ่งระดับความรุนแรงของผู้ที่มีระดับ Creatinine ผิดปกติว่ามีความรุนแรงของโรคไตเรื้อรังอยู่ในระยะใด ใน 5 ระยะ กล่าวคือ
- ระยะที่ 1 ค่า GFR ≥ 90 มล./นาที ไตยังทำงานปกติ
- ระยะที่ 2 ค่า GFR = 60 – 89 มล./นาที เป็นระยะที่ไตเริ่มทำงานผิดปกติเล็กน้อย
- ระยะที่ 3 ค่า GFR = 30 – 59 มล./นาที เป็นระยะที่ไตทำงานผิดปกติปานกลาง
- ระยะที่ 4 ค่า GFR = 15 – 29 มล./นาที เป็นระยะที่ไตทำงานผิดปกติอย่างมาก
- ระยะที่ 5 ค่า GFR < 15 มล./นาที เป็นระยะสุดท้ายที่ถือว่าไตพังไปแล้วเรียบร้อย (ต้องใช้ไตเทียมล้างไตจึงจะมีชีวิตอยู่ได้)
การรักษาโรคไตวายทำด้วยวิธีใด?
เนื่องจากภาวะไตวายเป็นอาการที่มีทั้งแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ซึ่งไตวายแต่ละชนิดจะมีวิธีการรักษาที่แตกต่างกัน โดยผู้ป่วยไตวายชนิดเฉียบพลันอาจสามารถรักษาให้หายได้ แต่ไตวายชนิดเรื้อรังมักจะต้องรักษาอย่างต่อเนื่องไปจนกว่าจะได้รับการปลูกถ่ายไตหรือต้องล้างไตไปตลอดชีวิต การรักษาแบ่งออกเป็น 3 แนวทางใหญ่ๆ คือ 1.การฟอกไตด้วยเครื่องไตเทียม จะต้องทำที่โรงพยาบาล หรือ ศูนย์ฟอกไตเทียมเท่านั้น การบริการมีทั้งโรงพยาบาลรัฐและเอกชน มีระบบจองคิวในการทำและใช้เวลาในการฟอกแต่ละครั้งตามความรุนแรงของโรคและอาการผู้ป่วย ต้องอาศัยผู้เชี่ยวชาญในการทำเท่านั้นระยะในการฟอกไตและความถี่แพทย์จะเป็นผู้กำหนดความถี่เช่น สัปดาห์ละ 1-2 ครั้งขึ้นไป ตามสภาพผู้ป่วย โดยการฟอกแต่ละครั้ง จะใช้เวลา 3-4 ชั่วโมงขึ้นไป ดังนั้นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการจึงสูงกว่า ประมาณครั้งละ 2,000 -3,000/ครั้ง หรือเดือนละ 36,000 บาท หรือ ปีละ ประมาณ 400,000-500,000 บาทต่อปี |
ข้อดี: รวดเร็วและมีประสิทธิภาพด้วยการรักษาเพียง 2-3 ครั้งต่อสัปดาห์เป็นการบำบัดเป็นระยะๆ
ข้อเสีย: ต้องไปที่ศูนย์ฟอกไตเพื่อรับการรักษา การรักษากระทำเป็นระยะๆ เท่านั้นและมีค่าใช้จ่ายสูง
2.การฟอกไตทางช่องท้องแบบถาวร (continuous ambulatory peritoneal dialysis: CAPD)
สามารถทำได้เองที่บ้านหรือที่ทำงานได้ โดยที่ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลสามารถเรียนรู้วิธีการทำจากผู้เชี่ยวชาญ มีความถี่ในการทำบ่อยกว่าวิธีแรก โดยแพทย์จะเป็นผู้กำหนดตามสภาพอาการของผู้ป่วยเช่นกัน เช่น ต้องล้างช่องท้องทุกวันแต่จะมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่า เปลี่ยนน้ำยา 4-5 ครั้งต่อวัน ใช้เวลาครั้งละ 2-3 ชั่วโมงเป็นต้น ส่วนค่าใช้จ่ายน้อยกว่าวิธีแรก และต้องรักษาความสะอาด เป็นอย่างมาก ห้ามติดเชื้อ และต้องมีคนดูแลตลอดเวลา ระหว่างฟอกไต มีภาวะแทรกซ้อนใหม? : มีได้บ้างเล็กน้อย เช่น เป็นตะคริว ปวดศรีษะ เวียนศรีษะ ความดันต่ำ
การรักษาด้วยวิธีการฟอกไต (การถ่ายเทน้ำยาฟอกไต) สามารถทำได้ที่บ้าน น้ำยาฟอกไตจะถูกฉีดเข้าไปในช่องท้องผ่านทางท่อสอดที่ปลูกฝังไว้และน้ ายาฟอกไตจะคงอยู่ในช่องท้อง เป็นระยะเวลา 4-10 ชั่วโมง ระหว่างช่วงเวลานี้ ของเสียจะกระจายตัวเข้าไปในน้ำยาฟอกไต และน้ำยาฟอกไตจะถูกถ่ายเทออกจากร่างกาย (พร้อมกับของเสีย) ภายหลังระยะ 4-10 ชั่วโมง และน้ ายาฟอกไตถุงใหม่จะถูกฉีดเข้าไปในช่องท้องอีกครั้ง กระบวนการนี้จะกระทำวันละ 3-4 ครั้ง
ข้อดี: สามารถขจัดของเสียและน้ำส่วนเกินได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้หัวใจมีภาระการทำงานน้อยลง และผู้สามารถดำเนินกิจกรรมตามปกติในระหว่างการฟอกไตได้
ข้อเสีย: เสี่ยงต่อภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ (การอักเสบของเยื่อบุช่องท้อง) จากการถ่ายเทน้ำยาฟอกไต แต่ภาวะแทรกซ้อนนี้มีโอกาสน้อยหากทำการฟอกไตด้วยความระมัดระวัง
ข้อเสีย: ต้องไปที่ศูนย์ฟอกไตเพื่อรับการรักษา การรักษากระทำเป็นระยะๆ เท่านั้นและมีค่าใช้จ่ายสูง
2.การฟอกไตทางช่องท้องแบบถาวร (continuous ambulatory peritoneal dialysis: CAPD)
สามารถทำได้เองที่บ้านหรือที่ทำงานได้ โดยที่ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลสามารถเรียนรู้วิธีการทำจากผู้เชี่ยวชาญ มีความถี่ในการทำบ่อยกว่าวิธีแรก โดยแพทย์จะเป็นผู้กำหนดตามสภาพอาการของผู้ป่วยเช่นกัน เช่น ต้องล้างช่องท้องทุกวันแต่จะมีค่าใช้จ่ายน้อยกว่า เปลี่ยนน้ำยา 4-5 ครั้งต่อวัน ใช้เวลาครั้งละ 2-3 ชั่วโมงเป็นต้น ส่วนค่าใช้จ่ายน้อยกว่าวิธีแรก และต้องรักษาความสะอาด เป็นอย่างมาก ห้ามติดเชื้อ และต้องมีคนดูแลตลอดเวลา ระหว่างฟอกไต มีภาวะแทรกซ้อนใหม? : มีได้บ้างเล็กน้อย เช่น เป็นตะคริว ปวดศรีษะ เวียนศรีษะ ความดันต่ำ
การรักษาด้วยวิธีการฟอกไต (การถ่ายเทน้ำยาฟอกไต) สามารถทำได้ที่บ้าน น้ำยาฟอกไตจะถูกฉีดเข้าไปในช่องท้องผ่านทางท่อสอดที่ปลูกฝังไว้และน้ ายาฟอกไตจะคงอยู่ในช่องท้อง เป็นระยะเวลา 4-10 ชั่วโมง ระหว่างช่วงเวลานี้ ของเสียจะกระจายตัวเข้าไปในน้ำยาฟอกไต และน้ำยาฟอกไตจะถูกถ่ายเทออกจากร่างกาย (พร้อมกับของเสีย) ภายหลังระยะ 4-10 ชั่วโมง และน้ ายาฟอกไตถุงใหม่จะถูกฉีดเข้าไปในช่องท้องอีกครั้ง กระบวนการนี้จะกระทำวันละ 3-4 ครั้ง
ข้อดี: สามารถขจัดของเสียและน้ำส่วนเกินได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้หัวใจมีภาระการทำงานน้อยลง และผู้สามารถดำเนินกิจกรรมตามปกติในระหว่างการฟอกไตได้
ข้อเสีย: เสี่ยงต่อภาวะเยื่อบุช่องท้องอักเสบ (การอักเสบของเยื่อบุช่องท้อง) จากการถ่ายเทน้ำยาฟอกไต แต่ภาวะแทรกซ้อนนี้มีโอกาสน้อยหากทำการฟอกไตด้วยความระมัดระวัง
3.วิธีสุดท้ายในกรณีที่ร่างกายไม่สามารถฟอกไตได้อีกต่อไป ผู้ป่วยต้องทำการเปลี่ยนไตหรือปลูกถ่ายไต!!
การปลูกถ่ายไตคืออะไร
การปลูกถ่ายไต คือ การบำบัดทดแทนไตในการรักษาภาวะไตวายเรื้อรัง นอกเหนือจากการฟอกเลือดและการล้างไตทางช่องท้อง โดยนำไตที่ยังทำงานดีมาปลูกถ่ายให้กับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย
ไตที่จะปลูกถ่ายได้มากจากไหนบ้าง
จากผู้บริจาคสมองตาย ซึ่งในทางกฎหมายและทางการแพทย์ถือว่าเป็นผู้เสียชีวิตแล้ว แต่ไตยังทำงานได้ดี โดยต้องได้รับความยินยอมจากญาติสนิท โดยผ่านการบริจาคให้กับศูนย์บริจาคอวัยวะ สถากาชาดไทยเป็นผู้จัดสรรให้กับผู้รอรับไตอย่างเป็นธรรม
จากผู้บริจาคมีชีวิต ตามหลักเกณฑ์ที่ระบุตามกฎหมาย ผู้บริจาคไตต้องเป็นญาติที่มีความสัมพันธ์ทางสายเลือดหรือเป็นสามีภรรยาที่แต่งงาน หรืออยู่ด้วยกันมากกว่า 3 ปี ยกเว้นมีบุตรด้วยกันไม่จำเป็นต้องรอครบ 3 ปี
บริจาคไตแล้วเหลือไตข้างเดียว จะเป็นอย่างไร
แพทย์จะทำการตรวจสุขภาพผู้บริจาคไตเพื่อให้มั่นใจว่าผู้บริจาคไตมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ โดยเมื่อบริจาคไตแล้วไตอีกข้างที่มีอยู่สามารถทำงานทดแทนไตที่บริจาคได้ อนึ่งผู้บริจาคอวัยวะจะต้องเป็นผู้ที่บรรลุนิติภาวะ และไม่ควรมีอายุมากกว่า 60 ปี
อนึ่ง ผู้บริจาคไตชนิดยังมีชีวิตอยู่ทั้งสองประเภทดังกล่าว จะได้รับการตรวจร่างกายและจิตใจอย่างละเอียดว่าปกติโดยสมบูรณ์ เหมาะสมกับการปลูกถ่ายไต ค่าใช้จ่ายในช่วงอยู่โรงพยาบาลในการผ่าตัดปลูกถ่ายไตชนิดผู้บริจาคไตยังมีชีวิตอยู่ ประมาณ 100,000-150,000 บาท ในโรงพยาบาลรัฐบาล
ภายหลังการปลูกถ่ายไต ผู้รับบริจาคไตทุกชนิดต้องรับประทานยากดภูมิคุ้มกันไปตลอดเพื่อป้องกันการต่อต้านไตใหม่ของร่างกาย
กรมการแพทย์ เผยคนไทยป่วยโรคไตเรื้อรัง 8ล้านคน ในจำนวนนี้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายกว่าแสนคน ที่ต้องรับการฟอกเลือดหรือล้างไตทางช่องท้อง และมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ 15-20 ต่อปี บั่นนทอนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและญาติ ทำให้รัฐบาลต้องใช้ทรัพยากรบุคคลและเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาปีละกว่า 20,000 ล้านบาท !!!!!!! แต่ผู้บริจาคไตปีนึงไม่ถึง 6,000 คน
การปลูกถ่ายไตคืออะไร
การปลูกถ่ายไต คือ การบำบัดทดแทนไตในการรักษาภาวะไตวายเรื้อรัง นอกเหนือจากการฟอกเลือดและการล้างไตทางช่องท้อง โดยนำไตที่ยังทำงานดีมาปลูกถ่ายให้กับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะสุดท้าย
ไตที่จะปลูกถ่ายได้มากจากไหนบ้าง
จากผู้บริจาคสมองตาย ซึ่งในทางกฎหมายและทางการแพทย์ถือว่าเป็นผู้เสียชีวิตแล้ว แต่ไตยังทำงานได้ดี โดยต้องได้รับความยินยอมจากญาติสนิท โดยผ่านการบริจาคให้กับศูนย์บริจาคอวัยวะ สถากาชาดไทยเป็นผู้จัดสรรให้กับผู้รอรับไตอย่างเป็นธรรม
จากผู้บริจาคมีชีวิต ตามหลักเกณฑ์ที่ระบุตามกฎหมาย ผู้บริจาคไตต้องเป็นญาติที่มีความสัมพันธ์ทางสายเลือดหรือเป็นสามีภรรยาที่แต่งงาน หรืออยู่ด้วยกันมากกว่า 3 ปี ยกเว้นมีบุตรด้วยกันไม่จำเป็นต้องรอครบ 3 ปี
บริจาคไตแล้วเหลือไตข้างเดียว จะเป็นอย่างไร
แพทย์จะทำการตรวจสุขภาพผู้บริจาคไตเพื่อให้มั่นใจว่าผู้บริจาคไตมีสุขภาพแข็งแรงสมบูรณ์ โดยเมื่อบริจาคไตแล้วไตอีกข้างที่มีอยู่สามารถทำงานทดแทนไตที่บริจาคได้ อนึ่งผู้บริจาคอวัยวะจะต้องเป็นผู้ที่บรรลุนิติภาวะ และไม่ควรมีอายุมากกว่า 60 ปี
อนึ่ง ผู้บริจาคไตชนิดยังมีชีวิตอยู่ทั้งสองประเภทดังกล่าว จะได้รับการตรวจร่างกายและจิตใจอย่างละเอียดว่าปกติโดยสมบูรณ์ เหมาะสมกับการปลูกถ่ายไต ค่าใช้จ่ายในช่วงอยู่โรงพยาบาลในการผ่าตัดปลูกถ่ายไตชนิดผู้บริจาคไตยังมีชีวิตอยู่ ประมาณ 100,000-150,000 บาท ในโรงพยาบาลรัฐบาล
ภายหลังการปลูกถ่ายไต ผู้รับบริจาคไตทุกชนิดต้องรับประทานยากดภูมิคุ้มกันไปตลอดเพื่อป้องกันการต่อต้านไตใหม่ของร่างกาย
กรมการแพทย์ เผยคนไทยป่วยโรคไตเรื้อรัง 8ล้านคน ในจำนวนนี้ป่วยไตเรื้อรังระยะสุดท้ายกว่าแสนคน ที่ต้องรับการฟอกเลือดหรือล้างไตทางช่องท้อง และมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องร้อยละ 15-20 ต่อปี บั่นนทอนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยและญาติ ทำให้รัฐบาลต้องใช้ทรัพยากรบุคคลและเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาปีละกว่า 20,000 ล้านบาท !!!!!!! แต่ผู้บริจาคไตปีนึงไม่ถึง 6,000 คน
คุณต้องเปลี่ยนไตแล้วจะเอาไตที่ไหนมาเปลี่ยน????
หากคุณรักตัวเอง อยากอยู่กับครอบครัว ลูกหลานไปนานๆ เริ่มต้นดูแลไตของคุณด้วย
สมุนไพรธนทร!!!!!
ตัวช่วยสำหรับคนที่ไม่อยากฟอกไต “สมุนไพรธนทร”
หากคุณรักตัวเอง อยากอยู่กับครอบครัว ลูกหลานไปนานๆ เริ่มต้นดูแลไตของคุณด้วย
สมุนไพรธนทร!!!!!
ตัวช่วยสำหรับคนที่ไม่อยากฟอกไต “สมุนไพรธนทร”